วีดีโอเรื่องตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง

 

ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง สอนโดย

พี่โต๋ วชิรา โอภาสวัฒนา

  • เมื่อเรียนเนื้อหาเรื่องตัวอย่างสมบัติของรากที่สองเสร็จแล้ว ลองทำแบบฝึกหัดท้ายคลิปด้วยนะคะ เพื่อให้เรารู้เรื่องเนื้อหานี้ได้ถ่องแท้
  • เรียนควบคู่กับหนังสือค่ะ สามารถ Download เป็น PDF และ Print เองได้เลย หรือถ้าไม่อยาก Print ก็มีหนังสือเป็นเล่มให้สั่งซื้อค่ะ สั่งซื้อหนังสือ

 

เกี่ยวกับตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง

ตัวอย่างโจทย์เพิ่มเติมแบบที่ยากขึ้นของตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง สำหรับน้องที่ได้เรื่องตัวอย่างสมบัติของรากที่สองแล้วให้ลองดูตัวอย่างแบบประยุกต์นี้ด้วยค่ะ

 

วิธีการใช้งาน VDO Player เวอร์ชั่นใหม่

(A) ส่วนควบคุมคลิปวีดีโอ สามารถกดหยุด เล่นต่อ ปรับความเร็ว ปรับเสียง ซูมเต็มหน้าจอ ได้ครับ

(B) รายละเอียดคลิปวีดีโอที่เล่นอยู่ ระดับชั้น ความยาว ชื่อผู้สอน หน้าในหนังสือ (กรณีสั่งซื้อหนังสือเรียนเพิ่ม) และ link download ชีทเรียนในรุปแบบ pdf ครับ

(C) Table of Content เป็นเหมือนสารบัญ คลิ๊กได้ด้วยนะว่าอยากเรียนเรื่องอะไร ไม่ต้องกรอเอง >_<

(D) แบบฝึกหัดท้ายคลิป ในส่วนนี้ จะทำก่อนหรือทำหลังดูคลิปก็ได้ทั้งนั้นครับ มีระบบตรวจคะแนนพร้อมคลิปเฉลยครับ

(E) คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับคลิป มีคำถามถามได้ตรงนี้เลยนะครับ

วิธีแก้ปัญหาเบื้องต้น

ในกรณีที่วีดีโอไม่โหลด หรือค้าง ให้กด Ctrl+F5 (หรือ Ctrl+R) เพื่อสั่งให้โหลดใหม่นะครับ

 

 

พูดคุยเรื่อง ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง

มีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับคลิป ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง หรือถ้ายังไม่เข้าใจตรงไหน ถามได้ทันที แค่คอมเม้นท์มาใต้คลิป ถ้าไม่เข้าใจเลย ใจเย็นๆนะ ลองดูวีดีโอซ่ำอีกสักรอบก่อน แล้วค่อยมาดูว่าสงสัยตรงไหน พยายามหาจุดที่สงสัยให้เจอ แล้วถามค่ะ เมื่อน้องถามคำถามที่หน้านี้แล้ว ผู้สอนจะได้รับการแจ้งเตือน และกลับมาตอบคำถามให้น้องได้อย่างรวดเร็วและละเอียดค่ะ

แต่ถ้าหากว่าคำถามของน้องเป็นคนละเรื่องกับ ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง ก็ไปโพสต์ถามได้ที่ เว็บบอร์ด นะคะ

 

 

# 05 มิ.ย. 2558, 07:24:07 แจ้งลบ
พี่โต๋คะ ข้อ 10 ทำไมต้องใส่ค่าสัมบูรณ์ที่aยกกำลัง5คะ
แต่bยกกำลังสองไม่ใส่ ทั้งๆที้มันก็เป็นตัวแปรเหมือนกัน และอยูในรูปเลขยกกำลังเหมือนกัน
# 05 มิ.ย. 2558, 12:00:07 แจ้งลบ
ที่ใส่ค่าสัมบูรณ์ เพื่อบอกว่า ออกมาเป็นบวกค่ะ
แต่ b2 เป็นบวกแน่ๆ อยู่แล้วก็เลยไม่ต้องใส่ค่ะ

(ยกกำลังสองได้บวกเสมอ )
# 12 มี.ค. 2561, 20:18:22 แจ้งลบ
สรุปคือถอดออกมาจากรูทค่าต่างๆต้องเป็นบวกใช่เปล่าคับ​ เเต่ต้องคุมด้วยค่า​สัมบูรณ์​ไว้ใช่เปล่าคับ
# 12 มี.ค. 2561, 20:42:57 แจ้งลบ
ไม่ใช่ค่ะ ดูอันดับรากด้วย
ถ้าเป็นรากที่สาม ก็เป็นลบ หรือเป็นบวกก็ได้

ถ้าเป็นรากที่สอง จะถอดออกมาได้บวกเสมอค่ะ ถ้าเจอเป็นตัวแปร ก็เลยใส่ค่าสัมบูรณ์คลุมไว้
# 07 พ.ย. 2558, 20:21:05 แจ้งลบ
ข้อ 7 เราสามารถเขียนเป็นรากมี่สองของ1/100 x6xค่าสัมบูรณ์ของa/ค่าสัมบูรณ์ของbได้มั้ยครับ
# 13 พ.ย. 2558, 01:59:02 แจ้งลบ
ถ้าเขียนอย่างที่น้องว่า จะเป็นแบบนี้
 
 
1
100
 
6
|a|
|b|


ซึ่งตรงรากที่สองยังคิดต่อได้นะ แบบนี้ก็คือยังทำไม่เสร็จค่ะ ถ้าจะเขียนตอบก็ไม่ควรเขียนแบบนี้ค่ะ
# 25 พ.ค. 2563, 11:46:01 แจ้งลบ
ทำไมต้องใส่ค่สมบูรณ์ค่ะ รู้ได้ไงว่ทต้องใส่ตรงไหนค่ะ
# 25 พ.ค. 2563, 18:11:58 แจ้งลบ
ตรงที่ถาม มีอธิบายไว้ที่คลิปก่อนหน้าค่ะ
ย้อนดูได้นะ
https://www.dektalent.com/vdo/695-square-root-property/

อธิบายตรงนี้คร่าวๆ ก่อนนะคะ
ค่าสัมบูรณ์ที่ต้องใส่ เพราะตกลงกันไว้ว่า รากเลขคู่ (เช่น รากที่สอง)
ค่าที่ออกมาจะเป็นบวกเท่านั้น เลยต้องใส่ค่าสัมบูรณ์ไว้ค่ะ

แต่เวลาเป็นตัวเลข เช่น
 
 4
 
= 2
แบบนี้ไม่ใส่ให้วุ่นวาย เพราะเห็นๆ กันอยู่แล้วว่าได้ 2 เป็นบวกแน่ๆ

แต่พอเป็นตัวแปร เช่น
 
 a2
 
= |a| ต้องใส่ค่าสัมบูรณ์ เพราะไม่รู้ว่า a เป็นบวกหรือเป็นลบ ใส่ทุกครั้ง จะได้ไม่ผิดข้อตกลงค่ะ
# 28 มี.ค. 2560, 10:51:43 แจ้งลบ
ทำไมข้อ 10 พี่ใส่ค่าสัมบูรณ์ที่ -100 หรอคะ
# 05 เม.ย. 2560, 16:56:39 แจ้งลบ
รากเลขคู่ (ในข้อนี้เป็นรากที่สอง สองเป็นเลขคู่ค่ะ แบบนี้เค้าเรียกรากเลขคู่)

รากเลขคู่ เวลาถอดออกมาจะได้ บวกเสมอ
จึงใส่ค่าสัมบูรณ์คลุมไว้ค่ะ
# 1 วินาทีที่แล้ว แจ้งลบ

ตอบ: ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง

กรุณา Login เข้าสู่ระบบเพื่อโพสต์ในบทสนทนานี้

 

 

หรือคุณสามารถ สมัครสมาชิกได้ฟรี สมัครวันนี้รับสิทธิ์เข้าเรียนคอร์สออนไลน์ฟรี 5 ชั่วโมง!

 

 

ขึ้นบน
อัพเดทล่าสุด: 28 มีนาคม 2567   สงวนลิขสิทธิ์ 2553-2566 DekTalent.com ตัวอย่างสมบัติของรากที่สอง [วีดีโอ 10:27 นาที] - เรียนออนไลน์ที่เว็บ DekTalent.com Page Load Time: 0.608 วินาที IN